วงศ์ย่อย :Epidendroideae
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Dendrobium formosum Roxb. ex Lindl.
ชื่อสามัญ : เอื้องเงินหลวง
ชื่อท้องถิ่น : โกมาซุม(ระนอง)
ต้น : ต้นเป็นลำอวบ ยาว 20 - 40 ซม. ปลายเรียวเล็กน้อย เส้นผ่าศูนย์กลางต้น 1.5 - 2.5 ซม. มีขนสั้นละเอียดสีดำประปรายทั่วลำต้น
ใบ : ใบรูปขอบขนานแกมรูปใบหอก กว้าง 2.5 - 3.5 ซม. ยาว 7 - 10 ซม. แผ่นใบเหนียวค่อนข้างบางคล้ายแผ่นหนัง ปลายหยักเว้าตื้น เรียงตัวถี่ใกล้ยอด
ดอก : ช่อดอกสั้นเกิดใกล้ยอด ขนาดดอก 4 - 6 ซม. จำนวนดอกในช่อ 1 - 5 ดอก มีสีขาว กลีบปากปลายหยักเว้า บริเวณกลางถึงโคนกลีบปากมีสีเหลือง กลีบดอกคู่ข้างกว้าง ปลายมน ดอกบานทนประมาณ 3 - 4 สัปดาห์
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Dendrobium formosum Roxb. ex Lindl.
ชื่อสามัญ : เอื้องเงินหลวง
ชื่อท้องถิ่น : โกมาซุม(ระนอง)
ต้น : ต้นเป็นลำอวบ ยาว 20 - 40 ซม. ปลายเรียวเล็กน้อย เส้นผ่าศูนย์กลางต้น 1.5 - 2.5 ซม. มีขนสั้นละเอียดสีดำประปรายทั่วลำต้น
ใบ : ใบรูปขอบขนานแกมรูปใบหอก กว้าง 2.5 - 3.5 ซม. ยาว 7 - 10 ซม. แผ่นใบเหนียวค่อนข้างบางคล้ายแผ่นหนัง ปลายหยักเว้าตื้น เรียงตัวถี่ใกล้ยอด
ดอก : ช่อดอกสั้นเกิดใกล้ยอด ขนาดดอก 4 - 6 ซม. จำนวนดอกในช่อ 1 - 5 ดอก มีสีขาว กลีบปากปลายหยักเว้า บริเวณกลางถึงโคนกลีบปากมีสีเหลือง กลีบดอกคู่ข้างกว้าง ปลายมน ดอกบานทนประมาณ 3 - 4 สัปดาห์
ฤดูดอก : กันยายน - ธันวาคม หรือเกือบตลอดทั้งปี
แหล่งที่พบในประเทศไทย : ป่าดิบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันตก และภาคใต้
เขตการกระจายพันธุ์ : อินเดีย เนปาล สิกขิม พม่า และเวียดนาม
แหล่งที่พบในประเทศไทย : ป่าดิบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันตก และภาคใต้
เขตการกระจายพันธุ์ : อินเดีย เนปาล สิกขิม พม่า และเวียดนาม
1 ความคิดเห็น:
สวยมาก
แสดงความคิดเห็น